ดร.ลักขณา   ดาวรัตนหงษ์

ตำแหน่ง  :   ข้าราชการบำนาญ
สถานที่ติดต่อ : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย  มหาวิทยาลัยมหิดล
ตำบลศาลายา  อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170


ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2511 – 2514           อ.บ.ภาษาไทย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
พ.ศ. 2522 – 2524         ศศ.ม. มหาวิทยาลัยมหิดล (ภาษาศาสตร์และภาษาอาเซียอาคเนย์)
พ.ศ. 2527 – 2528         D.E.A (diplôme d’études approfondies) (Anthropologie sociale et ethnologie) (Ecole des Hautes Etudes en Sciences Sociales, Paris)
พ.ศ. 2532 – 2537         Doctorat de l’EHESS (Très honorable) (Anthropologie sociale et ethnologie) (Ecole des Hautes Etudes en Sciences Sociales, Paris)


ประวัติการทํางาน
พ.ศ. 2525 – 2551        นักวิจัยและอาจารย์ประจำสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันสถาบันฯใช้ชื่อว่า สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
พ.ศ. 2537 – 2551        กรรมการหลักสูตรปริญญาโท สาขาวัฒนธรรมศึกษา , สาขาภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนาและสาขาพัฒนาชนบทศึกษา
พ.ศ. 2538 – 2545        หัวหน้าสำนักงานวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์
พ.ศ. 2548 – 2551        ประธานหลักสูตรปริญญาโท สาขาพัฒนาชนบทศึกษา


ประวัติการทำงานด้านอื่นๆ
–  สอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ เช่น นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย Sydney,  มหาวิทยาลัย Ritsumeikan   Asia Pacific, Japan, มหาวิทยาลัย Baise, China และชาวต่างชาติอื่นๆ (พ.ศ.2537-ปัจจุบัน)
–  บรรยายเรื่อง มานุษยวิทยาวัฒนธรรม และการวิจัยทางมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ให้สถานศึกษาอื่น เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะศิลปกรรม ศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลป์สุพรรณบุรี
–  สอนวิชา มานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ ให้นักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาภาษาไทย  ม.ศิลปากร
–  เป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและเอก ณ สถานศึกษาอื่น ได้แก่  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  มหาวิทยาลัยศิลปากร


ผลงานทางวิชาการ
2525/1982     A Contrastive Study on Lisu and Thai Phonology. M.A.Thesis, Faculty of Graduate Study, Mahidol University, 149 pages.
2529               พจนานุกรมภาษาละว้า – ไทย  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล (งานวิจัยร่วมกับ  รศ.ดร.คุณหญิงสุริยา  รัตนกุล) หน้า 501
2531                อาหารแสลงโรคและบริโภคนิสัยของชาวกะเหรี่ยงสะกอ  สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท  มหาวิทยาลัยมหิดล (งานวิจัยร่วมกับ  รศ.ดร.คุณหญิงสุริยา  รัตนกุล)
2532               “ พิธีไหว้ผีดินของชาวลีซอ ”  ภาษาและวัฒนธรรม 8(2) : 104-129
2537/1994      La culture lissoue à travers les classificateurs dans la vie quotidienne et dans la tradition orale. Thèse du doctorat de l’Ecole des Hautes Etudesen Sciences Sociales, Paris, 465 pages.
2537               “ พิธีไหว้ผีบรรพบุรุษของชาวลีซอ ”  ภาษาและวัฒนธรรม 13(1) : 82-91
2537              “ บทบาทของนิทานพื้นบ้านไทยในการเสริมพลังทางวัฒนธรรมให้แก่ครอบครัว ”  บทความเสนอในการสัมมนาเรื่อง  การเสริมพลังทางวัฒนธรรมแก่ครอบครัวในยุคโลกาภิวัตน์ จัดโดย สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล 4 – 5 สิงหาคม  2537
2539               สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ : ลีซอ  นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล
2543              “ Lisu’s problems in learning Thai phonology ” Paper presented at the 33rd ICSTLL  (International Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics) 2-6 October 2000, Ramkhamhaeng University, Bangkok.
2544              “ Lisu classifiers ” Paper presented at the 34th ICSTLL (the 34th International Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics), 23-27 October 2001, Kunming, the People’s Republic of China.
2546              “ Thai phonology and writing system ”  Paper presented at the Conference on Thai Language and Culture, organized by the Institute of Language  and  Culture for Rural  Development, Mahidol University, 2 September 2003, Yangon, Myanmar.
2548              “ Ground Spirits : traditional and powerful beliefs of the Thai people ” Paper presented at the Conference on Cultural and Religious Mosaic of
South and Southeast Asia : Conflict and Consensus through the Ages, 27-30 January 2005, New Delhi, India.
2548              “ มานุษยวิทยาวัฒนธรรม ” ใน ยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานวัฒนธรรมร่วมกับชุมชน  กระทรวงวัฒนธรรมและสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล

Scroll to Top