|
ประวัติการศึกษา
– ศศ.บ. (ดุริยางค์ไทย) คณะนาฏศิลปและดุริยางค์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 2546
– ศศ.ม. (สาขาวัฒนธรรรมศึกษา แขนงมานุษยวิทยาการดนตรี) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 2551.
– ปร.ด. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
การทำงาน
2547-2548 สอนดนตรีไทยที่ชมรมดนตรีของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน กระทรวงการคลัง
2546-2553 สอนดนตรีไทยที่ KPN. ACADEMY สาขาปิ่นเกล้า
2549 เป็นอาจารย์พิเศษ รายวิชา : MSMS092 ดุริยวรรณกรรมดนตรีไทย (Thai music Literature) หลักสูตรเตรียมอุดมศึกษา วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2548 – ปัจจุบัน ทำงานในตำแหน่งนักวิชาการวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
ผลงานวิชาการ
– จิติกานต์ จินารักษ์ และคณะ. (2546). ดนตรีไทยบำบัดผู้ติดยาเสพติดกลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง โรงพยาบาลธัญญบุรี. โดยได้รับทุนสนับสนุนจาก สยช. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาดุริยางค์ไทย คณะนาฏศิลปและดุริยางค์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงค
– จิติกานต์ จินารักษ์. (2547). วัฒนธรรมดนตรีของชาวม้ง หมู่บ้านเข็กน้อย ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. นำเสนอบทความในการประชุม วิชาการประจำปี ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล
– จิติกานต์ จินารักษ์. (2549). หนี้บุญคุณในวัฒนธรรมดนตรีไทย. นำเสนอบทความในการประชุมวิชาการประจำปี ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิด
– จิติกานต์ จินารักษ์. (2551). กระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงระนาดเอกของครูประสิทธิ์ ถาวร กรณีศึกษาชุดเพลินเพลงพาทย์ระนาดเอก. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา แขนงมานุษยวิทยาการดนตรี สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล
– จิติกานต์ จินารักษ์.. (2552). วัฒนธรรมดนตรีลาวเดิม ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยปรชาชนลาว เวียงจันทน์. บทความในจดหมายข่าวสถาบันวิจัยภาษาและวัฒฯธรรมเอเชีย ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 : ตุลาคม-ธันวาคม 2552
– โสภนา ศรีจำปา, เอี่ยม ทองดี, เรณู เหมือนจันทร์เชย, ภัทราภรณ์ ภูบาล, วิไล อัครพัฒน์ และ จิติกานต์ จินารักษ์. (2553). โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้เอกลักษณ์ของชาติ ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 และ พ.ศ.2551 (จ้างโดย สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี)
– Jitikan Jinarak. (2011). Beliefs and Rituals in Traditional Musical Instruments of Thailand. Voice of Intellectual Man An International Journal. Vol.1, No.1, Jan-June, 2011, (91-104).
การเสนอผลงานวิชาการต่างประเทศ
– Jitikan Jinarak. (2011). Beliefs and Rituals in Traditional Musical Instruments of Thailand. Paper for presented in the International Conference on “Science, Spirituality and Humanity: Transcending Disciplinary Barriers” , at the University of Delhi from February 17-19 2011.
– Jitikan Jinarak and Tassanee Ounvichit. (2017). Children’s Thinking Patterns in Environmental Ethics Development. In 9th World Environmental Education Congress “Culture/Environment: Weaving New Connections”, at Vancouver Convention Centre, BC, Canada from September 9-15, 2017
การเข้าร่วมการอบรม
– ปี 2557 เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสอนศิลปศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม: นวัตกรรมเพื่อเตรียมความเป็นพลเมืองอาเซียน วันที่ 16-17 มิถุนายน 2557 ณ สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
– ปี 2558 เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง วิธีการสอนลูกหลานให้เป็นอัจฉริยะด้วยจิตวิทยานีโอฮิวแมนนิส วันที่ 7 กันยายน 2558 ณ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– 2016, A Participant in the Public Lecture on “DESIGNING INSTRUCTION FOR ADULT LEANERS” on 2 February 2016, at the Faculty of Education, Chulalongkorn University, Bangkok,Thailand.
– 2016, A Participant in the Public Lecture on “HOW TO DESIGN AND IMPLEMENT A QUALITATIVE RESEARCH STUDY” on 16 February 2016, at the Faculty of Education, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand
– 2016, Jititkan Jinarak has completed 34 intensive hours of Leadership, Facilitation and Safety training and has demonstrated the highest degree of competence, skill and passion. Leading Performance Thailand and Vasanth Gopalan do hereby confer upon the holder of this certificate, the right and the titleof Leader, Facilitator & Safety Guide. The 26th of March 2016.
– ปี 2559 เข้าร่วมอบรมในโครงการพัฒนาความรู้ในการจัดกิจกรรมทางการศึกษานอกระบบสำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบ ระหว่างวันที่ 22-24 เมษายน 2559 สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– 2016, A Participant in the Public Lecture on “CHALLENGES OF THE POSTMODREN ‘LEARNING SOCIETY’: A CRITICAL APPROACH TO EUROPEAN EDUCATION PERSPECTIVES” on 12 May 2016, at the Faculty of Education, Chulalongkorn University, Bangkok,Thailand.
– Jitikan Jinarak has successfully completed the intensive practitioner certification training in Time Line Therapy and has demonstrated the highest degree of competence and skill. Leading Performance Thailand and Vasanth Gopalan do hereby confer upon the holder of this certificate, the right and the title of Certified Practitioner of Time Line Therapy. Approved by the time Line Therapy Association USA. The 11th of July 2017.
– Jitikan Jinarak has completed the 36 hour practitioner certification training in Hypnotherapy and has demonstrated the highest degree of competence and skill. Leading Performance Thailand and Vasanth Gopalan do hereby confer upon the holder of this certificate, the right and the title of Certified Hypnotherapist. Approved by American Board of Hypnosis and recongnized by HTI Ca and ACHE. The 11th of July 2017.
– Jitikan Jinarak has completed the 100 hour practitioner certification training in Neuro-Linguistic Programmimg and has demonstrated the highest degree of competence and skill. Leading Performance Thailand and Vasanth Gopalan do hereby confer upon the holder of this certificate, the right and the title of Ultimate Leadership & Therapeutic Coaching Certified Practitioner of Neuro – Linguistic Programming. Approved by American Board of NLP and recognized by NLP University. The 11th of July 2017
การรับเชิญเป็นวิทยากรและอาจารย์พิเศษ
– ปี 2556 ได้รับเชิญเป็นวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ : แนวทางการจัดสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ระหว่างวันที่ 4-8 มกราคม 2556 ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี
– ปี 2559 ได้รับเชิญเป็นวิทยากรอบรมในหัวข้อ “ แนวทางการสอนวัฒนธรรมไทยให้ชาวต่างชาติ ” ในการจัดอบรมอาจารย์ชาวจีนที่สอนภาษาไทย และสอบวัดความรู้ภาษาไทยให้นักศึกษาจีนเอกภาษาไทย รวมทั้งอาจารย์จีนที่สอนภาษาไทย สถานที่ Minzu University ระหว่างวันที่ 23-26 มิถุนายน 2559 ณ มหาวิทยาลัยชนชาติยูนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน
– ปี 2558 ถึงปัจจุบัน ได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษในโครงการการจัดการเรียนการสอนภาษา-วัฒนธรรมไทย สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2558 ถึงปัจจุบัน ในรายวิชาวัฒนธรรมไทย ณ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล